Buddhawajana FAQ

Thai (th)English (UK)

ศีล ๕ มีความสำคัญอย่างไร

User Rating:  / 4
PoorBest 

บรรยายธรรมโดย พระอาจารย์ คึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล

วัดนาป่าพง ลำลูกกา คลอง ๑๐ ปทุมธานี

 

ดาวน์โหลด : mp4, mp3

 

 คหบดี !  ในกลใด ภัยเวร  ๕ ประกร อันอริยสวกทำให้สงบรำงับได้แล้ว ด้วย, อริยสวกประกอบพร้อมแล้วด้วยโสตปัตติยังคะสี่ ด้วย, อริยญยธรรมเป็นธรรมที่อริยสวกเห็นแล้วด้วยดี  แทงตลอดแล้วด้วยดีด้วยปัญญ ด้วย;

ในกลนั้น อริยสวกนั้น เมื่อหวังอยู่ก็พยกรณ์ตนด้วยตน นั่นแหละว่เรเป็นผู้มีนรกสิ้นแล้ว  มีกำเนิดเดรัจฉนสิ้นแล้ว มีเปรตวิสัยสิ้นแล้ว มีอบยทุคติวินิบตสิ้นแล้ว, เรเป็นผู้ถึงแล้วซึ่งกระแส (แห่งนิพพน) มีควมไม่ตกต่ำเป็นธรรมด เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อนิพพน มีกรตรัสรู้พร้อมเป็นเบื้องหน้”  ดังนี้.

คหบดี !  ภัยเวร ๕ ประก เหล่าไหนเล่า อันอริยสาวกทำให้สงบรำงับได้แล้ว ?

(๑) คหบดี !  บุคคลผู้ฆ่สัตว์อยู่เป็นปกติย่อมประสพภัยเวรใดในทิฏฐธรรม (ปัจจุบัน) บ้าง, ย่อมประสพภัยเวรใดในสัมปรายิก (ในเวลาถัดต่อมา) บ้าง, ย่อมเสวยทุกขโทมนัสแห่งจิตบ้าง เพราะปาณาติบาตเป็นปัจจัย; ภัยเวรนั้นๆ เป็นสิ่งที่อริยสาวกผู้เว้นขาดแล้วจากปาณาติบาต  ทำให้สงบรำงับได้แล้ว.

(๒) คหบดี !  บุคคลผู้ถือเอสิ่งของที่เขไม่ได้ให้อยู่เป็นปกติ  ย่อมประสพภัยเวรใดในทิฏฐธรรมบ้าง, ย่อมประสพภัยเวรใดในสัมปรายิกบ้าง, ย่อมเสวยทุกขโทมนัส

แห่งจิตบ้าง เพราะอทินนาทานเป็นปัจจัย; ภัยเวรนั้นๆ เป็นสิ่งที่อริยสาวกผู้เว้นขาดแล้วจากอทินนาทาน  ทำให้สงบรำงับได้แล้ว.

(๓) คหบดี !  บุคคลผู้ประพฤติผิดในกมทั้งหลยอยู่เป็นปกติ ย่อมประสพภัยเวรใดในทิฏฐธรรมบ้าง, ย่อมประสพภัยเวรใดในสัมปรายิกบ้าง, ย่อมเสวยทุกขโทมนัส

แห่งจิตบ้าง, เพราะกาเมสุมิจฉาจารเป็นปัจจัย; ภัยเวรนั้นๆเป็นสิ่งที่อริยสาวกผู้เว้นขาดแล้วจากกาเมสุมิจฉาจารทำให้สงบรำงับได้แล้ว.

(๔) คหบดี !  บุคคลผู้กล่วคำเท็จอยู่เป็นปกติ ย่อมประสพภัยเวรใดในทิฏฐธรรมบ้าง, ย่อมประสพภัยเวรใดในสัมปรายิกบ้าง, ย่อมเสวยทุกขโทมนัสแห่งจิตบ้าง

เพราะมุสาวาทเป็นปัจจัย; ภัยเวรนั้นๆ เป็นสิ่งที่อริยสาวกผู้เว้นขาดแล้วจากมุสาวาท ทำให้สงบรำงับได้แล้ว.

(๕) คหบดี !  บุคคลผู้ดื่มสุรและเมรัยอันเป็นที่ตั้งของควมประมทอยู่เป็นปกติ  ย่อมประสพภัยเวรใดในทิฏฐธรรมบ้าง, ย่อมประสพภัยเวรใดในสัมปรายิกบ้าง,

ย่อมเสวยทุกขโทมนัสแห่งจิตบ้าง, เพราะสุราและเมรัยเป็นปัจจัย ภัยเวรนั้นๆ เป็นสิ่งที่อริยสาวกผู้เว้นขาดแล้วจากสุราและเมรัย ทำให้สงบรำงับได้แล้ว.

คหบดี !  ภัยเวร ๕ ประการ เหล่านี้แล อันอริยสาวกทำให้สงบรำงับได้แล้ว.   

คหบดี ! อริยสาวกเป็นผู้ประกอบพร้อมแล้วด้วย องค์แห่งโสดาบัน ๔ ประการ เหล่าไหนเล่า ?

 () คหบดีอริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ประกอบพร้อมแล้ว

ด้วยความเลื่อมใสอันหยั่งลงมั่นไม่หวั่นไหว ในพระพุทธเจ้า ว่า เพราะเหตุอย่างนี้ๆพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง เป็นผู้สามารถฝึกคนที่ควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ด้วยธรรมเป็นผู้มีความจำเริญ จำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ดังนี้.

() คหบดีอริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ประกอบพร้อมแล้ว ด้วยความเลื่อมใสอันหยั่งลงมั่นไม่หวั่นไหว ในพระธรรม ว่า พระธรรม เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้ และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกะผู้อื่นว่าท่านจงมาดูเถิด

เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน ดังนี้.

 () คหบดี ! อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ประกอบพร้อมแล้ว ด้วยความเลื่อมใสอันหยั่งลงมั่นไม่หวั่นไหว ในพระสงฆ์ ว่า สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว เป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้วเป็นผู้ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้วเป็นผู้ปฏิบัติสมควรแล้ว ได้แก่บุคคลเหล่านี้ คือ คู่แห่งบุรุษสี่คู่ นับเรียงตัวได้แปดบุรุษ นั่นแหละ คือ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ เป็นสงฆ์ควรรับทักษิณาทาน เป็นสงฆ์ที่บุคคลทั่วไปจะพึงทำอัญชลี เป็นสงฆ์ที่เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่าดังนี้.

() คหบดี ! อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ประกอบพร้อมแล้ว ด้วยศีลทั้งหลายในลักษณะเป็นที่พอใจของพระอริยเจ้า : เป็นศีลที่ไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่างไม่พร้อย เป็นศีลที่เป็นไทจากตัณหา วิญญูชนสรรเสริญไม่ถูกทิฏฐิลูบคลำ  เป็นศีลที่เป็นไปพร้อมเพื่อสมาธิ  ดังนี้.

คหบดี !  อริยสาวก เป็นผู้ประกอบพร้อมแล้วด้วยองค์แห่งโสดาบัน ๔ ประการ เหล่านี้แล.

… … … …

คหบดี ! ก็ อริยญายธรรม เป็นสิ่งที่อริยสาวกเห็นแล้วด้วยดี แทงตลอดแล้วด้วยดีด้วยปัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?

คหบดี ! อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ย่อมทำไว้ในใจโดยแยบคาย เป็นอย่างดี

ซึ่งปฏิจจสมุปบาทนั่นเทียว

ดังนี้ว่า เพราะสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี; เพราะความเกิดขึ้น

แห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น. เพราะสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้จึงไม่มี;

เพราะความดับไปแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป : ข้อนี้ได้แก่

สิ่งเหล่านี้ คือ เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย;

เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ; ...ฯลฯ...

...ฯลฯ... ...ฯลฯ... เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ

โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้น

ครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้

ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.

เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือแห่งอวิชชา

นั้นนั่นเทียว จึงมีความดับแห่งสังขาร; เพราะมีความดับ

แห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ; ...ฯลฯ... ...ฯลฯ...

...ฯลฯ... เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ

โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น :

ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการ

อย่างนี้”.

คหบดี ! อริยญายธรรม1 นี้แล เป็นธรรมที่

อริยสาวกนั้นเห็นแล้วด้วยดี แทงตลอดแล้วด้วยดีด้วยปัญญา.

คหบดี ! ในกาลใดแล ภัยเวร ๕ ประการ

เหล่านี้ เป็นสิ่งที่อริยสาวกทำให้สงบรำงับได้แล้วด้วย,

อริยสาวกเป็นผู้ประกอบพร้อมแล้วด้วยโสตาปัตติยังคะสี่เหล่านี้ ด้วย,

อริยญายธรรมนี้ เป็นธรรมอันอริยสาวกเห็นแล้วด้วยดี แทงตลอดแล้วด้วยดี ด้วยปัญญาด้วย;

ในกาลนั้น อริยสาวกนั้นปรารถนาอยู่ ก็พยากรณ์ตนด้วยตนนั้นแหละว่า เราเป็นผู้มีนรกสิ้นแล้ว มีกำเนิดเดรัจฉานสิ้นแล้ว มีเปรตวิสัยสิ้นแล้ว มีอบายทุคติวินิบาตสิ้นแล้ว, เราเป็นผู้ถึงแล้วซึ่งกระแส (แห่งนิพพาน)มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อนิพพานมีการตรัสรู้พร้อมเป็นเบื้องหน้าดังนี้.

 

พุทธวจน คู่มือโสดาบัน  หน้า ๑๑.

 (ภาษาไทย) ทสก. อํ. ๒๔/๑๕๗/๙๒. : คลิกดูพระสูตร

 

 (ปติป เวรมณี) เธอนั้น ละปาณาติบาต เว้นขาดจากปาณาติบาต (ฆ่าสัตว์) วางท่อนไม้และศัสตราเสียแล้ว มีความละอาย ถึงความเอ็นดูกรุณา หวังประโยชน์เกื้อกูลในบรรดาสัตว์ทั้งหลายอยู่.

(อทินนน เวรมณี) เธอนั้น ละอทินนาทาน เว้นขาดจากอทินนาทาน (ลักทรัพย์) 

ถือเอาแต่ของที่เขาให้แล้ว หวังอยู่แต่ของที่เขาให้ ไม่เป็นขโมย มีตนเป็นคน

สะอาดเป็นอยู่.

(กเมสุมิจฉ  เวรมณี)  เธอนั้น  ละการประพฤติผิดในกาม  เว้นขาดจากการประพฤติผิดในกาม (คือเว้นขาดจากการประพฤติผิด) ในหญิง ซึ่งมารดารักษา บิดารักษา  พี่น้องชาย พี่น้องหญิง หรือญาติรักษา  อันธรรมรักษา เป็นหญิงมีสามี หญิงอยู่ในสินไหม โดยที่สุดแม้หญิงอันเขาหมั้นไว้  (ด้วยการคล้องพวงมาลัย)  ไม่เป็นผู้ประพฤติผิดจารีตในรูปแบบเหล่านั้น.

(มุส เวรมณี) เธอนั้น ละมุสาวาท เว้นขาดจากมุสาวาท พูดแต่ความจริง รักษาความสัตย์ มั่นคงในคำพูด มีคำพูดควรเชื่อถือได้ ไม่แกล้งกล่าวให้ผิดต่อโลก.

(สุรเมระยะมัชชะปมทัฏฐ เวรมณี) เธอนั้น เว้นขาดจากการดื่มน้ำเมา  คือสุราและเมรัย  อันเป็นที่ตั้งของความประมาท.

พุทธวจน ปฐมธรรม หน้า ๑๑๘.

(ภาษาไทย) ปา. ที. ๑๑/๑๙๖/๒๘๖.: คลิกดูพระสูตร

 

 

ภิกษุทั้งหลาย !  ปติบ(ฆ่าสัตว์) ที่เสพทั่วแล้ว เจริญแล้ว ทำให้มกแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อ

นรก  เป็นไปเพื่อกำเนิดดิรัจฉาน  เป็นไปเพื่อเปรตวิสัย.  วิบากแห่งปาณาติบาตของผู้เป็นมนุษย์ที่เบากว่าวิบากทั้งปวง คือ วิบกที่เป็นไปเพื่อมีอยุสั้น.

ภิกษุทั้งหลาย !  อทินน(ลักทรัพย์) ที่เสพทั่วแล้ว เจริญแล้ว ทำให้มกแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อนรก  เป็นไปเพื่อกำเนิดดิรัจฉาน  เป็นไปเพื่อเปรตวิสัย.  วิบากแห่งอทินนาทานของผู้เป็นมนุษย์ที่เบากว่าวิบากทั้งปวง คือ วิบกที่เป็นไปเพื่อควมเสื่อมแห่งโภคะ.

ภิกษุทั้งหลาย !  กเมสุมิจฉ(ประพฤติผิดในกาม) ที่เสพทั่วแล้ว เจริญแล้ว ทำให้

กแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อนรก เป็นไปเพื่อกำเนิดดิรัจฉาน เป็นไปเพื่อเปรตวิสัย.  วิบากแห่งกาเมสุมิจฉาจาร ของผู้เป็นมนุษย์ ที่เบากว่าวิบากทั้งปวง คือ วิบกที่เป็นไปเพื่อก่อเวรด้วยศัตรู.

ภิกษุทั้งหลาย !  มุส(คำเท็จ) ที่เสพทั่วแล้ว เจริญแล้ว  ทำให้มกแล้ว  ย่อมเป็นไปเพื่อนรก  เป็นไปเพื่อกำเนิดดิรัจฉาน  เป็นไปเพื่อเปรตวิสัย.  วิบากแห่งมุสาวาทของผู้เป็นมนุษย์ที่เบากว่าวิบากทั้งปวง  คือ  วิบกที่เป็นไปเพื่อกรถูกกล่วตู่ด้วยคำไม่จริง.

ภิกษุทั้งหลาย !  ปิสุณว(คำยุยงให้แตกกัน) ที่เสพทั่วแล้ว เจริญแล้ว ทำให้มกแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อนรก  เป็นไปเพื่อกำเนิดดิรัจฉาน  เป็นไปเพื่อเปรตวิสัย. วิบากแห่ง ปิสุณวาทของผู้เป็นมนุษย์ที่เบากว่าวิบากทั้งปวง  คือ  วิบกที่เป็นไปเพื่อกรแตกจกมิตร.

ภิกษุทั้งหลาย !  ผรุสว(คำหยาบ) ที่เสพทั่วแล้ว เจริญแล้ว  ทำให้มกแล้ว  ย่อมเป็นไปเพื่อนรก  เป็นไปเพื่อกำเนิดดิรัจฉาน  เป็นไปเพื่อเปรตวิสัย.   วิบากแห่งผรุสวาทของผู้เป็นมนุษย์ที่เบากว่าวิบากทั้งปวง คือ วิบกที่เป็นไปเพื่อกรได้ฟังเสียงที่ไม่น่พอใจ.

ภิกษุทั้งหลาย !  สัมผัปปลปะ (คำเพ้อเจ้อ)  ที่เสพทั่วแล้ว เจริญแล้ว ทำให้มกแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อนรก เป็นไปเพื่อกำเนิดดิรัจฉาน เป็นไปเพื่อเปรตวิสัย. วิบากแห่งผรุสวาทของผู้เป็นมนุษย์ที่เบากว่าวิบากทั้งปวง คือ วิบกที่เป็นไปเพื่อวที่ไม่มีใครเชื่อถือ.

ภิกษุทั้งหลาย !  กรดื่มน้ำเมคือสุรและเมรัย ที่เสพทั่วแล้ว เจริญแล้ว ทำให้มกแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อนรก เป็นไปเพื่อกำเนิดดิรัจฉาน เป็นไปเพื่อเปรตวิสัย. วิบากแห่งการดื่มน้ำเมา คือ สุราและเมรัยของผู้เป็นมนุษย์ที่เบากว่าวิบากทั้งปวง  คือ วิบกที่เป็นไปเพื่อควมเป็นบ้(อุมฺมตฺตก).

พุทธวจน แก้กรรม  หน้า ๑๑๗.

 (ภาษาไทย) อฏฺก. อํ. ๒๓/๑๙๒/๑๓๐. : คลิกดูพระสูตร

 

 

 “ขาแตพระองคผูเจริญ !  ศีลอันเปนกุศลทั้งหลาย มีอะไรเปนประโยชนที่มุงหมาย  มีอะไรเปนอานิสงส ?”

ทานพระอานนท ไดกราบทูลถามพระผูมีพระภาคเจา.

อานนท !  กุศลศีลทั้งหลาย  มีอวิปฏิสาร (ความไมรอนใจ) เปนประโยชนที่มุงหมาย    มีอวิปฏิสาร เปนอานิสงส.

ขาแตพระองคผูเจริญ !  ก็อวิปฏิสาร  มีอะไรเปนประโยชนที่มุงหมาย  มีอะไรเปนอานิสงส ?”

อานนท !  อวิปฏิสาร มีความปราโมทย เปนประโยชนที่มุงหมาย

มีความปราโมทย เปนอานิสงส

ขาแตพระองคผูเจริญ !  ก็ความปราโมทย  มีอะไรเปนประโยชน  ที่มุงหมาย  มีอะไรเปนอานิสงส ?”

อานนท !  ความปราโมทย  มีปติ เปนประโยชนที่มุงหมาย มีปติ เปนอานิสงส.

ขาแตพระองคผูเจริญ !  ก็ปติ  มีอะไรเปนประโยชนที่มุงหมาย  มีอะไรเปนอานิสงส ?”

อานนท !  ปติ  มีปสสัทธิ  เปนประโยชนที่มุงหมาย  มีปสสัทธิ  เปนอานิสงส.

ขาแตพระองคผูเจริญ !  ก็ปสสัทธิ  มีอะไรเปนประโยชนที่มุงหมาย  มีอะไรเปนอานิสงส ?”

อานนท !  ปสสัทธิ  มีสุข  เปนประโยชนที่มุงหมาย มีสุข เปนอานิสงส.

 

ขาแตพระองคผูเจริญ  !  ก็สุข  มีอะไรเปนประโยชนที่มุงหมาย  มีอะไรเปนอานิสงส ?”

อานนท !  สุข มีสมาธิ เปนประโยชนที่มุงหมาย  มีสมาธิ เปนอานิสงส.

 

ขาแตพระองคผูเจริญ  !  ก็สมาธิ  มีอะไรเปนประโยชนที่มุงหมาย  มีอะไรเปนอานิสงส ?”

อานนท !  สมาธิ  มียถาภูตญาณทัสสนะ  เปนประโยชนที่มุงหมาย 

มียถาภูตญาณทัสสนะ เปนอานิสงส.

ขาแตพระองคผูเจริญ  !  ก็ยถาภูตญาณทัสสนะ มีอะไรเปนประโยชนที่มุงหมาย มีอะไรเปนอานิสงส ?”

อานนท !  ยถาภูตญาณทัสสนะ  มีนิพพิทาวิราคะ  เปนประโยชนที่มุงหมาย 

มีนิพพิทาวิราคะ เปนอานิสงส.

ขาแตพระองคผูเจริญ  !  ก็นิพพิทาวิราคะ  มีอะไรเปนประโยชนที่มุงหมาย  มีอะไรเปนอานิสงส ?”

อานนท !  นิพพิทาวิราคะ มีวิมุตติญาณทัสสนะ เปนประโยชนที่มุงหมาย

มีวิมุตติญาณทัสสนะ  เปนอานิสงส.

อานนท !  ดวยอาการ  อยางนี้แล กุศลศีลทั้งหลาย  มีอวิปฏิสาร เปนประโยชนที่มุงหมาย มีอวิปฏิสารเปนอานิสงส,  ฯลฯ…  นิพพิทาวิราคะ  มีวิมุตติญาณทัสสนะเปนประโยชนที่มุงหมาย มีวิมุตติญาณทัสสนะเปนอานิสงส.

อานนท !  กุศลศีลทั้งหลาย  ยอมยัง ความเปนอรหันตใหเต็มได  โดยลําดับดวยอาการอยางนี้แล.

ขุมทรัพย์จากพระโอษฐ์  หน้า ๒๒๗.

(ภาษาไทย) ทสก. อํ. ๒๔/๑/๑. : คลิกดูพระสูตร

  

 จุนทะ !  ควมสะอดทงกยมี ๓ อย่ง ควมสะอดทงวจามี ๔ อย่

ควมสะอดทางใจมี ๓ อย่

จุนทะ !  ควมสะอดทงกย มี ๓ อย่งนั้น  เป็นอย่งไรเล่ ?

(๑)  บุคคลบางคนในกรณีนี้ 

ละกรทำสัตว์ มีชีวิตให้ตกล่วง  เว้นขาดจากปาณาติบาต วางท่อนไม้ วางศัสตรา มีความละอาย ถึงความเอ็นดูกรุณาเกื้อกูลแก่สัตว์ทั้งหลายอยู่.

(๒)  ละกรถือเอสิ่งของที่เจ้ของมิได้ให้ เว้นขาดจากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของมิได้ให้  ไม่ถือเอาทรัพย์และอุปกรณ์แห่งทรัพย์อันเจ้าของไม่ได้ให้  ในบ้านก็ดี

ในป่าก็ดี ด้วยอาการแห่งขโมย.

(๓)  ละกรประพฤติผิดในกม  เว้นขาดจากการประพฤติผิดในกาม,(คือเว้นจากการประพฤติผิด) ในหญิงซึ่งมารดารักษา  บิดารักษา  พี่น้องชาย  พี่น้องหญิง  หรือ

ญาติรักษา  อันธรรมรักษา  เป็นหญิงมีสามี  หญิงอยู่ในสินไหม  โดยที่สุดแม้หญิงอันเขาหมั้นไว้  (ด้วยการคล้องมาลัย) ไม่เป็นผู้ประพฤติผิดจารีตในรูปแบบเหล่านั้น.

จุนทะ !  อย่างนี้แล  เป็นความสะอาดทางกาย ๓ อย่าง.

จุนทะ !  ควมสะอดทงว มี ๔ อย่งนั้น เป็นอย่งไรเล่ ?

(๑)  บุคคลบางคนในกรณีนี้  ละมุสท  เว้นขาดจากมุสาวาท  ไปสู่สภาก็ดี  ไปสู่บริษัทก็ดี  ไปสู่ท่ามกลางหมู่ญาติก็ดี  ไปสู่ท่ามกลางศาลาประชาคมก็ดี

ไปสู่ท่ามกลางราชสกุลก็ดี อันเขานำไปเป็นพยาน ถามว่า  “บุรุษผู้เจริญ ! ท่านรู้อย่างไร ท่านจงกล่าวไปอย่างนั้น”  ดังนี้,  บุรุษนั้น  เมื่อไม่รู้ก็กล่าวว่าไม่รู้  เมื่อรู้ก็กล่าวว่ารู้  เมื่อไม่เห็นก็กล่าวว่าไม่เห็น  เมื่อเห็นก็กล่าวว่าเห็น, เพราะเหตุตนเอง เพราะเหตุผู้อื่น หรือเพราะเหตุเห็นแก่อามิสไรๆ ก็ไม่เป็น ผู้กล่าวเท็จทั้งที่รู้อยู่.

(๒)  ละคำส่อเสียด  เว้นขาดจากการส่อเสียด ได้ฟังจากฝ่ายนี้แล้วไม่เก็บไปบอกฝ่ายโน้น เพื่อแตกจากฝ่ายนี้ หรือได้ฟังจากฝ่ายโน้นแล้ว ไม่เก็บมาบอกแก่ฝ่ายนี้ 

เพื่อแตกจากฝ่ายโน้น  แต่จะสมานคนที่แตกกันแล้วให้กลับพร้อมเพรียงกัน  อุดหนุนคนที่พร้อมเพรียงกันอยู่ ให้พร้อมเพรียงกันยิ่งขึ้น  เป็นคนชอบในการพร้อมเพรียง เป็นคนยินดีในการพร้อมเพรียง  เป็นคนพอใจในการพร้อมเพรียง  กล่าวแต่วาจาที่ทำให้พร้อมเพรียงกัน.

(๓)  ละกรกล่วคำหยบเสีย  เว้นขาดจากการกล่าวคำหยาบ  กล่าวแต่วาจาที่ไม่มีโทษ  เสนาะโสตให้เกิดความรัก  เป็นคำฟูใจ  เป็นคำสุภาพที่ชาวเมืองเขาพูดกัน  เป็นที่ใคร่ที่พอใจของมหาชน  กล่าวแต่วาจาเช่นนั้นอยู่.

(๔)  ละคำพูดเพ้อเจ้อ เว้นขาดจากคำพูดเพ้อเจ้อ กล่าวแต่ในเวลาอันสมควร กล่าวแต่คำจริง เป็นประโยชน์เป็นธรรม เป็นวินัย กล่าวแต่วาจามีที่ตั้ง มีหลักฐานที่อ้างอิง มีเวลาจบ ประกอบด้วยประโยชน์ สมควรแก่เวลา.

จุนทะ !  อย่างนี้แล  เป็นความสะอาดทางวาจา ๔ อย่าง.

จุนทะ !  ควมสะอดทงใจ มี ๓ อย่ง เป็นอย่งไรเล่ ?

(๑)  บุคคลบางคนในกรณีนี้  เป็นผู้ไม่มกด้วยอภิชฌ คือเป็นผู้ไม่โลภ เพ่งเล็งวัตถุอุปกรณ์แห่งทรัพย์ของผู้อื่น  ว่า  “สิ่งใดเป็นของผู้อื่น  สิ่งนั้นจงเป็นของเรา”

ดังนี้.

(๒)  เป็นผู้ไม่มีจิตพยท มีความดำริแห่งใจอันไม่ประทุษร้ายว่า “สัตว์ทั้งหลาย จงเป็นผู้ไม่มีเวร ไม่มีความเบียดเบียน ไม่มีทุกข์ มีสุข บริหารตนอยู่เถิด” ดังนี้

เป็นต้น.

(๓)  เป็นผู้มีควมเห็นถูกต้อง  มีทัสสนะไม่วิปริต ว่า “ทานที่ให้แล้ว มี (ผล), ยัญที่บูชาแล้ว มี (ผล), การบูชาที่บูชาแล้ว มี (ผล), ผลวิบากแห่งกรรมที่สัตว์ทำดี

ทำชั่ว มี, โลกอื่น มี, มารดา มี, บิดา มี, โอปปาติกสัตว์ มี, สมณพราหมณ์ที่ไปแล้วปฏิบัติแล้วโดยชอบ ถึงกับกระทำให้แจ้งโลกนี้และโลกอื่น  ด้วยปัญญาโดยชอบเอง  แล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้ ก็มี” ดังนี้.

จุนทะ !  อย่างนี้แล  เป็นความสะอาดทางใจ  ๓ อย่าง.

จุนทะ !  เหล่นี้แล เรียกว่ กุศลกรรมบถ ๑๐.

จุนทะ ! บุคคลประกอบด้วยกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการเหล่านี้ ลุกจากที่นอนตามเวลาแห่งตนแล้ว แม้จะลูบแผ่นดิน ก็เป็นคนสะอาด, แม้จะไม่ลูบแผ่นดิน ก็เป็นคนสะอาด; แม้จะจับโคมัยสด ก็เป็นคนสะอาด, แม้จะไม่จับโคมัยสด ก็เป็นคนสะอาด; แม้จะจับหญ้าเขียว ก็เป็นคนสะอาด, แม้จะไม่จับหญ้าเขียว ก็เป็นคนสะอาด; แม้จะบำเรอไฟ ก็เป็นคนสะอาด, แม้จะไม่บำเรอไฟ ก็เป็นคนสะอาด; แม้จะไหว้พระอาทิตย์ ก็เป็นคนสะอาด, แม้จะไม่ไหว้พระอาทิตย์ ก็เป็นคนสะอาด; แม้จะลงน้ำในเวลาเย็นเป็นครั้งที่สามก็เป็นคนสะอาด แม้จะไม่ลงน้ำในเวลาเย็นเป็นครั้งที่สาม ก็เป็นคนสะอาด.ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?

จุนทะ ! เพราะเหตุว่า กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการเหล่านี้ เป็นตัวความสะอาด และเป็นเครื่องกระทำความสะอาด.

จุนทะ ! อนึ่ง เพราะมีการประกอบด้วยกุศลกรรมบถทั้ง ๑๐ ประการเหล่านี้ เป็นเหตุพวกเทพจึงปรากฏ หรือว่าสุคติใดๆ แม้อื่นอีก ย่อมมี.

 พุทธวจน ปฐมธรรม  หน้า ๑๒๙.

(ภาษาไทย) ทสก. อํ. ๒๔/๒๔๐/๑๖๕.  คลิกดูพระสูตร 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


 

 

 

 

 
Today1186
Yesterday1254
This week5991
This month16009
Total2523314

Who Is Online

95
Online