Buddhawajana FAQ

Thai (th)English (UK)

ละสังโยชน์ในขันธ์ ๕ ได้อย่างไร

ให้เรตสมาชิก
ไม่ดีดี 

 

วิดีโอ

บรรยายธรรมโดย พระอาจารย์ คึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
วัดนาป่าพง ลำลูกกา คลอง ๑๐ ปทุมธานี
สนทนาธรรมค่ำวันเสาร์   1 ธ.ค. 2555

ดาวน์โหลด : mp4mp3

 

 

(ความยึดถือหรือเครื่องร้อยรัดจิต)

ภิกษุทั้งหลาย !  เราจักแสดงสิ่งซึ่งเปนที่ตั้งแหงสัญโญชน  (สฺโญชนิยธมฺม)

และ ตัวสัญโญชน.  พวกเธอทั้งหลาย  จงฟงขอนั้น.

ภิกษุทั้งหลาย !  สิ่งซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งสัญโญชน์  เปนอยางไร

และ ตัวสัญโญชน์ เปนอยางไรเลา ?

ภิกษุทั้งหลาย !  รูป  (กาย)  เปนสิ่งซึ่งเปนที่ตั้งแหงสัญโญชน.  

ฉันทราคะ  (ความกําหนัดเพราะพอใจ)  ใด   เขาไปมีอยูในรูปนั้น 

ฉันทราคะนั้น  คือ ตัวสัญโญชน ในรูปนั้น ;

ภิกษุทั้งหลาย เวทนา  เปนสิ่งซึ่งเปนที่ตั้งแหงสัญโญชน,

ฉันทราคะ ใด  เขาไปมีอยูในเวทนานั้น  

ฉันทราคะนั้น   คือ  ตัวสัญโญชน   ในเวทนานั้น ;

ภิกษุทั้งหลาย !  สัญญา  เปนสิ่งซึ่งเปนที่ตั้งแหงสัญโญชน,   

ฉันทราคะ ใด  เขาไปมีอยูในสัญญานั้น 

ฉันทราคะนั้น   คือ   ตัวสัญโญชน   ในสัญญานั้น ;

ภิกษุทั้งหลาย สังขารทั้งหลาย  เปนสิ่งซึ่งเปนที่ตั้งแหงสัญโญชน,  

ฉันทราคะใด  เขาไปมีอยูในสังขารทั้งหลายเหลานั้น   

ฉันทราคะนั้น  คือ   ตัวสัญโญชน  ในสังขารทั้งหลายเหลานั้น ;

ภิกษุทั้งหลาย !  วิญญาณ  เปนสิ่งซึ่งเปนที่ตั้งแหงสัญโญชน

ฉันทราคะใด เขาไปมีอยูในวิญญาณนั้น  

ฉันทราคะนั้น คือ   ตัวสัญโญชน   ในวิญญาณนั้น.

ภิกษุทั้งหลาย !  ขันธเหลานี้  เรียกวา สิ่งซึ่งเปนที่ตั้งแหงสัญโญชน;

ฉันทราคะนี้เรียกวา  ตัวสัญโญชน  แล.

อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น  หน้า ๒๒๗.

(ภาษาไทย) ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๕๙/๓๐๘. : คลิกดูพระสูตร

 

 

ราธะ ! 

ความพอใจ (ฉันทะ) ก็ดี  ความกําหนัด (ราคะ) ก็ดี 

ความเพลิน (นันทิ) ก็ดี  ความอยาก (ตัณหา) ก็ดี  มีอยู

ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขารทั้งหลาย ในวิญญาณ ใดๆ

พวกเธอทั้งหลาย จงละกิเลสนั้นๆ เสีย

ดวยการทําอยางนี้

รูป เวทนา สัญญา สังขารทั้งหลาย วิญญาณนั้นๆ

จักเปนสิ่งที่พวกเธอละไดแลว

เปนสิ่งที่มีมูลรากอันตัดเสียแลว

ทําใหเหมือนตาลยอดเนา ทําใหมีอยูไมได

ทําใหเปนสิ่งที่เกิดขึ้นไมไดอีกตอไป.

ราธะ ! 

ความพอใจก็ดี  ความกําหนัดก็ดี ความเพลินก็ดี  ความอยากก็ดี 

กิเลสเปนเหตุใหเขาไปสูภพ(อุปายะ) ก็ดี  และความยึดมั่น (อุปาทาน) ก็ดี 

อันเปนเครื่องตั้งทับ เครื่องเขาไปอาศัย และเครื่องนอนเนื่องแหงจิต มีอยู

ในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร ในวิญญาณ ใดๆ

พวกเธอทั้งหลายจงละกิเลสนั้นๆ เสีย  

ดวยการทําอยางนี้

รูป เวทนา สัญญา สังขารทั้งหลาย วิญญาณ นั้นๆ

จักเปนสิ่งที่พวกเธอละไดแลว

เปนสิ่งที่มีมูลรากอันตัดเสียแลว ทําใหเหมือนตาลยอดเนา

ทําใหมีอยูไมได ทําใหเปนสิ่งที่เกิดขึ้นไมไดอีกตอไป.

พุทธวจน ภพภูมิ  หน้า ๔๖๑.

(ภาษาไทย) ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๕/๓๗๕-๓๗๖. : คลิกดูพระสูตร

 

 

 

ภิกษุทั้งหลาย !  ภิกษุเห็นจักษุอันไม่เที่ยงนั่นแล 

ว่าไม่เที่ยง ความเห็นเช่นนั้น

เป็น สัมมทิฏฐิ (การเห็นอยู่โดยถูกต้อง) ของเธอนั้น.

เมื่อ เห็นอยู่โดยถูกตอง ย่อมเบื่อหน่(สมฺมา ปสฺสำ นิพฺพินฺทติ);

เพรควมสิ้นไปแห่งนันทิ จึงมีควมสิ้นไปแห่งรคะ(นนฺทิกฺขยา ราคกฺขโย);

เพรควมสิ้นไปแห่งรคะ จึงมีควมสิ้นไปแห่งนันทิ(ราคกฺขยา นนฺทิกฺขโย);

เพรควมสิ้นไปแห่งนันทิและรคะ

กล่วไดว่จิตหลุดพนแลวดวยดี ดังนี้. (นนฺทิราคกฺขยา จิตฺตำ สุวิมุตฺตนฺติ วุจฺจติ).

  

(ในกรณีแห่งอายตนะภายในที่เหลืออีก ๕ คือ โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ  มโน  และในกรณีแห่งอายตนะภายนอก  ๖  คือ  รูป  เสียง  กลิ่น  รส  โผฏฐัพพะ  ธรรมารมณ์  ก็ตรัสอย่างเดียวกันกับ  ในกรณีแห่งจักษุทุกประการ).

พุทธวจน มรรค วิธีที่ ง่าย  หน้า ๑๙

(ภาษาไทย) สฬา. สํ. ๑๘/๑๔๖/๒๔๕-๒๔๖. : คลิกดูพระสูตร

 

 

 “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !  ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ

ภิกษุจึงชื่อว่า เป็นผู้มีการอยู่อย่างมีเพื่อนสอง พระเจ้าข้า ?”

มิคชาละ ! รูปทั้งหลายอันจะพึงเห็นได้ด้วยจักษุ  อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา  

น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก  เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ 

เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่.

ถ้าหากว่าภิกษุย่อมเพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร้;

แก่ภิกษุผู้เพลิดเพลิน  พร่ำสรรเสริญ  สยบมัวเมา  ซึ่งรูปนั้นอยู่  นั่นแหละ,

นันทิ(ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น

เมื่อ นันทิ มีอยู่, สาราคะ (ความพอใจอย่างยิ่ง) ย่อมมี;

เมื่อ สาราคะ มีอยู่, สัญโญคะ(ความผูกจิตติดกับอารมณ์) ย่อมมี :     

มิคชาละ !  ภิกษุผู้ประกอบพร้อมแล้ว ด้วยการผูกจิตติดกับอารมณ์ด้วย

อำนาจแห่งความเพลิน นั่นแล เราเรียกว่า ผู้มีการอยู่อย่างมีเพื่อนสอง

(ในกรณีแห่งเสียงทั้งหลายอันจะพึงได้ยินด้วยหู, กลิ่นทั้งหลายอันจะพึงดมด้วยจมูก,

รสทั้งหลายอันจะพึงลิ้มด้วยลิ้น, โผฏฐัพพะทั้งหลายอันจะพึงสัมผัสด้วยผิวกาย, และ

ธรรมารมณ์ทั้งหลายอันจะพึงรู้แจ้งด้วยใจ, ก็ทรงตรัสอย่างเดียวกัน).

มิคชาละ !  ภิกษุผู้มีการอยู่ด้วยอาการอย่างนี้  แม้จะส้องเสพเสนาสนะ 

อันเป็นป่า และป่าชัฏ  ซึ่งเงียบสงัด  มีเสียงรบกวนน้อย  มีเสียงกึกก้อง

ครึกโครมน้อย  ปราศจากลมจากผิวกายคน  เป็นที่ทำการลับของมนุษย์ 

เป็นที่สมควร  แก่การหลีกเร้น  เช่นนี้แล้ว  ก็ตาม  ถึงกระนั้น  ภิกษุนั้น

เราก็ยังคงเรียกว่า ผู้มีการอยู่อย่างมีเพื่อนสองอยู่นั่นเอง.

ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ข้อนั้นเพราะเหตุว่า ตัณหานั่นแล  เป็นเพื่อนสอง

ของภิกษุนั้น.ตัณหานั้น อันภิกษุนั้น ยังละไม่ได้แล้วเพราะเหตุนั้น ภิกษุนั้น

เราจึงเรียกว่า ผู้มีการอยู่อย่างมีเพื่อนสองดังนี้.

 “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !  ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอแล

ภิกษุจึงชื่อว่า เป็นผู้มีการอยู่อย่างอยู่ผู้เดียว พระเจ้าข้า !

มิคชาละ ! รูปทั้งหลายอันจะพึงเห็นได้ด้วยจักษุ อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา

น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่

เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัดย้อมใจ มีอยู่.

ถ้าหากว่าภิกษุย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา

ซึ่งรูปนั้นไซร้แก่ภิกษุผู้ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา

ซึ่งรูปนั้น นั่นแหละ นันทิย่อมดับ

 

เมื่อ นันทิไม่มีอยู่, สาราคะ ย่อมไม่มี

เมื่อ สาราคะ ไม่มีอยู่, สัญโญคะ ย่อมไม่มี

มิคชาละ !  ภิกษุผู้ไม่ประกอบพร้อมแล้ว  ด้วยการผูกจิตติดกับอารมณ์

ด้วยอำนาจแห่งความเพลิน  นั่นแล เราเรียกว่า ผู้มีการอยู่อย่างอยู่ผู้เดียว

(ในกรณีแห่งเสียงทั้งหลายอันจะพึงได้ยินด้วยหู, กลิ่นทั้งหลายอันจะพึงดมด้วยจมูก,

รสทั้งหลายอันจะพึงลิ้มด้วยลิ้น, โผฏฐัพพะทั้งหลายอันจะพึงสัมผัสด้วยผิวกาย, และ

ธรรมารมณ์ทั้งหลายอันจะพึงรู้แจ้งด้วยใจ, ก็ทรงตรัสอย่างเดียวกัน).

มิคชาละ !  ภิกษุผู้มีการอยู่ด้วยอาการอย่างนี้   แม้อยู่ในหมู่บ้าน

อันเกลื่อนกล่นไปด้วย ภิกษุ  ภิกษุณี  อุบาสก  อุบาสิกาทั้งหลาย

ด้วยพระราชา มหาอำมาตย์ของพระราชาทั้งหลาย

ด้วยเดียรถีย์ สาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย ก็ตาม ถึงกระนั้น

ภิกษุนั้นเราก็เรียกว่า ผู้มีการอยู่อย่างอยู่ผู้เดียวโดยแท้

  

ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ข้อนั้นเพราะเหตุว่า

ตัณหานั่นแล เป็นเพื่อนสองของภิกษุนั้น;

ตัณหานั้น อันภิกษุนั้น ละเสียได้แล้วเพราะเหตุนั้น

ภิกษุนั้นเราจึงเรียกว่า ผู้มีการอยู่อย่างอยู่ผู้เดียว ดังนี้ แล.

พุทธวจน อินทรียสังวร (ตามดู ! ไม่ตามไป...)  หน้า ๒๔.

(ภาษาไทย) สฬา. สํ. ๑๘/๓๔/๖๖-๖๗. : คลิกดูพระสูตร

 

 

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !  พระองค์ตรัสอยู่ว่า

เครื่องนำไป สู่ภพ เครื่องนำไปสู่ภพดังนี้ก็เครื่องนำไปสู่ภพ เป็นอย่างไร ? พระเจ้าข้า  ! 

และความดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? พระเจ้าข้า  !”.

ราธะ  !  ฉันทะ  (ความพอใจ)  ก็ดี, คะ(ความกำหนัด)  ก็ดี,

นันทิ  (ความเพลิน)  ก็ดี, ตัณห(ความทะยานอยาก)  ก็ดี

อุปยะ  (กิเลสเป็นเหตุเข้าไปสู่ภพ) และ อุป  (ความถือมั่นด้วยอำนาจกิเลส) 

อันเป็นเครื่องตั้งทับ เครื่องเข้าไปอาศัย และเครื่องนอนเนื่องแห่งจิตก็ดี ใดๆ

ในรูป  ในเวทนา  ในสัญญา  ในสังขารทั้งหลาย  และ ในวิญญาณ;

กิเลสเหล่นี้ นี่เรเรียกว่เครื่องนำไปสู่ภพ

ควมดับไม่เหลือของเครื่องนำไปสู่ภพ  มีได้

เพระควมดับไม่เหลือของกิเลส มีฉันทะ รคะ เป็นต้นเหล่นั้นเอง.

พุทธวจน แก้กรรม  หน้า ๑๖๑.

(ภาษาไทย) ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๒/๓๖๘.. : คลิกดูพระสูตร

 

 

ภิกษุทั้งหลาย !  สิ่งที่ใชเปนพืชมี ๕ อยาง เหลานี้.

๕ อยาง เหลาไหนเลา ? ๕ อยาง คือ :-

(๑) พืชจากเหงาหรือราก (มูลพีช)

(๒) พืชจากตน (ขนฺธพีช)

(๓) พืชจากตาหรือผล (ผลพีช)

(๔) พืชจากยอด (อคฺคพีช)

(๕) พืชจากเมล็ด (พีชพีช)

ภิกษุทั้งหลาย !  ถาสิ่งที่ใชเปนพืช ๕ อยาง เหลานี้

ที่ไมถูกทําลาย ยังไมเนาเปอย ยังไมแหงเพราะลมและแดด

ยังมีเชื้องอกบริบูรณอยู  และอันเจาของเก็บไวดวยดี แตดิน น้ำ ไมมี.

ภิกษุทั้งหลาย !  สิ่งที่ใชเปนพืช ๕ อยาง เหลานั้น

จะพึงเจริญงอกงามไพบูลย ไดแลหรือ ?

หาเปนเชนนั้นไม พระเจาขา !

ภิกษุทั้งหลาย !  ถาสิ่งที่ใชเปนพืช ๕ อยาง เหลานี้ แหละ

ที่ไมถูกทําลายยังไมเนาเปอย ยังไมแหงเพราะลมและแดด

ยังมีเชื้องอกบริบูรณอยู และอันเจาของเก็บไวดวยดี ทั้งดิน น้ำ ก็มีดวย.

ภิกษุทั้งหลาย !  สิ่งที่ใชเปนพืช ๕ อยาง เหลานั้น

จะพึงเจริญ งอกงาม ไพบูลย ไดมิใชหรือ ?

อยางนั้น พระเจาขา !

ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณฐิติ ๔ อยาง (รูป เวทนา สัญญา สังขาร)

พึงเห็นวา เหมือนกับ ดิน.

ภิกษุทั้งหลาย ! นันทิราคะ (ความกําหนัดดวยอํานาจแหงความเพลิน)

พึงเห็นวาเหมือนกับ นํ้า.

ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณ  ซึ่งประกอบดวยปจจัย 

พึงเห็นวาเหมือนกับ พืชสดทั้ง ๕ นั้น.

ภิกษุทั้งหลาย !  วิญญาณ  ซึ่งเขาถือเอารูปตั้งอยู ก็ตั้งอยูได

เปนวิญญาณที่มีรูปเปนอารมณ มีรูปเปนที่ตั้งอาศัย

มีนันทิเปนที่เขาไปสองเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลยได.

ภิกษุทั้งหลาย !  วิญญาณ ซึ่งเขาถือเอาเวทนา ตั้งอยู ก็ตั้งอยูได

เปนวิญญาณที่มีเวทนาเปนอารมณ มีเวทนาเปนที่ตั้งอาศัย

มีนันทิเปนที่เขาไปสองเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลยได.     

ภิกษุทั้งหลาย !  วิญญาณ ซึ่งเขาถือเอาสัญญา ตั้งอยู ก็ตั้งอยูได

เปนวิญญาณที่มีสัญญาเปนอารมณ  มีสัญญาเปนที่ตั้งอาศัย

มีนันทิเปนที่เขาไปสองเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลยได.

ภิกษุทั้งหลาย !  วิญญาณ ซึ่งเขาถือเอาสังขาร ตั้งอยู ก็ตั้งอยูได

เปนวิญญาณที่มีสังขารเปนอารมณ มีสังขารเปนที่ตั้งอาศัย

มีนันทิเปนที่เขาไปสองเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลยได.

ภิกษุทั้งหลาย !  ผูใดจะพึงกลาวอยางนี้วา :-

เราจักบัญญัติซึ่งการมา การไป การจุติ(การตาย) การอุบัติ (การเกิด)

ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบูลยของวิญญาณ

โดยเวนจากรูป เวนจากเวทนา เวนจากสัญญา และเวนจากสังขาร

ดังนี้นั้น นี่ไมใชฐานะที่จักมีไดเลย.

 

ภิกษุทั้งหลาย !  ถาราคะในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ

ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ เปนสิ่งที่ภิกษุละไดแลว.

เพราะละราคะได อารมณสําหรับวิญญาณก็ขาดลง

ที่ตั้งของวิญญาณก็ไมมี วิญญาณอันไมมีที่ตั้งนั้น

ก็ไมงอกงาม หลุดพนไป เพราะไมถูกปรุงแตง

เพราะหลุดพนไป ก็ตั้งมั่น เพราะตั้งมั่น ก็ยินดีในตนเอง

เพราะยินดีในตนเอง ก็ไมหวั่นไหว เมื่อไมหวั่นไหว

ก็ปรินิพพานเฉพาะตน ยอมรูชัดวา ชาติสิ้นแลว

พรหมจรรยอยูจบแลว กิจที่ควรทําไดสําเร็จแลว

กิจอื่นที่จะตองทําเพื่อความเปนอยางนี้ มิไดมีอีก ดังนี้.

พุทธวจน ภพภูมิ  หน้า ๑๕.

(ภาษาไทย) ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๔/๑๐๖-๑๐๗.: คลิกดูพระสูตร

 

 

 

Today1519
Yesterday1254
This week6324
This month16342
Total2523647

Who Is Online

42
Online